เมนู

[2165] 4. พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
อัชฌัตตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

12. วิปากปัจจัย ฯลฯ 21. อวิคตปัจจัย


[2166] อัชฌัตตารัมมฌรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหาร-
ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ-
ของฌานปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคต-
ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย.


การนับจำนวนวาระในอนุโลม


[2167] ในเหตุปัจจัย มี 2 วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี 4 วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี 3 วาระ ใหอนันตรปัจจัย มี 4 วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี 3 วาระ ในสหชาตปัจจัย มี 2 วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี 2 วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี 2 วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี 4 วาระ ในอาเสวนปัจจัย
มี 3 วาระ ในกัมมปัจจัย มี 4 วาระ ในวิปากปัจจัย มี 2 วาระ ในปัจจัย
ทั้งปวง มี 2 วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี 2 วาระ ในอัตถิปัจจัย มี 2 วาระ

ในนัตถิปัจจัย มี 4 วาระ ในวิคตปัจจัย มี 4 วาระ ในอวิคตปัจจัย มี 2 วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย จบ

ปัจจนียนัย


การยกปัจจัยในปัจจนียะแห่งปัญหาวาระ


[2168] 1. อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[2169] 2. อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[2170] 3. พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

[2171] 4. พหิทธารัมมณธรรมเป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.